การนั่งอยู่กับที่นานเกินไปส่งผลเสียต่อสมอง ไม่เพียงแค่ส่งผลต่อกระบวนการเผาผลาญอาหารหรือหัวใจเท่านั้น

การนั่งอยู่กับที่นานเกินไปส่งผลเสียต่อสมอง ไม่เพียงแค่ส่งผลต่อกระบวนการเผาผลาญอาหารหรือหัวใจเท่านั้น

การนั่งอยู่กับที่นานเกินไปส่งผลเสียต่อสมอง ไม่เพียงแค่ส่งผลต่อกระบวนการเผาผลาญอาหารหรือหัวใจเท่านั้น การนั่งอยู่กับที่นานเกินไปส่งผลเสียต่อสมอง ไม่เพียงแค่ส่งผลต่อกระบวนการเผาผลาญอาหารหรือหัวใจเท่านั้น

การนั่งอยู่กับที่นานเกินไปส่งผลเสียต่อสมอง ไม่เพียงแค่ส่งผลต่อกระบวนการเผาผลาญอาหารหรือหัวใจเท่านั้น
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ซี.เจบุ๊คส์:
หมวดสุขภาพ การดูแลตัวเอง
5 พฤศจิกายน 2564, 13:34
การนั่งอยู่กับที่นานเกินไปส่งผลเสียต่อสมองในเรื่องของกระบวนการความจำ สอดคล้องกับงานวิจัยของ UCLA ที่ได้ศึกษาวัยกลางคนกับวัยสูงอายุ

งานวิจัยชี้ว่า การนั่งอยู่กับที่นานเกินไปอย่างเช่นการนั่งสูบบุหรี่นั้น ส่งผลต่อการเป็นโรคหัวใจ เบาหวานและตายก่อนวัยอันควร นักวิจัยจาก UCLA อยากเห็นพฤติกรรมที่การนั่งอยู่กับที่ที่มีอิทธิพลต่อระบบสมองที่มีต่อระบบความจำ

 

นักวิจัย UCAL ได้ทำการสำรวจบุคคล 35 คนที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 75 ปี และได้สอบถามเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางร่างกายกับการใช้เวลานั่งอยู่กับที่นานแค่ไหนต่อชั่วโมงในสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแต่ละคนได้ทำการสแกน MRI ขั้นสูง ซึ่งโดยได้ทำการเจาะลึกรายละเอียดกลีบขมับหรือ MTL ซึ่งเป็นโครงสร้างในส่วนของความจำใหม่

 

นักวิจัยพบว่าพฤติกรรมการนั่งอยู่กับที่คาดว่ากลีบขมับจะหดเล็กลงและส่งผลต่อการเคลื่อนไหวทางร่างกาย โดยจะยิ่งมีผลมากขึ้นหากนั่งนานไปเรื่อย ๆ

 

งานวิจัยนี้ไม่ได้ชี้ให้เห็นถึงสาเหตุที่ทำให้โครงสร้างสมองหดเล็กลงเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังชี้ให้เห็นถึงการใช้เวลานั่งนานเกินไปจนทำให้พื้นที่สมองหดแคบลง นักวิจัยได้กล่าวว่า  พวกเขาได้โฟกัสกับการนั่งเป็นเวลาหลายชั่วโมง แต่พวกเขาไม่ได้ถามผู้เข้าร่วมว่า พวกเขาได้ใช้เวลานั่งนานแค่ไหน

 

นักวิจัยหวังว่า พวกเขาทำการติดตามเฝ้าดูกลุ่มคนในแต่ละช่วงเวลาเกี่ยวกับการนั่งไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเพศ เชื้อชาติ น้ำหนักที่อาจส่งผลต่อสุขภาพสมองในช่วงที่นั่งอยู่กับที่อยู่

 

นักวิจัยได้กล่าวว่า การที่ MTL หดเล็กลงก็ชี้ให้เห็นถึงกระบวนการรับรู้ที่เสื่อมถอยลงและมักจะอยู่ในช่วงวัยกลางคนกับสูงอายุ โดยมีความเป็นไปได้ว่า การนั่งให้นานน้อยลงช่วยทำให้สมองทำงานได้ดีที่ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์

 

ผู้แปล : Mr.lawrence10

 

ที่มา : sciencedaily.com 

ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ CJ BOOKS
เพิ่มความรู้ กระหายเรียนรู้ สู่ความเป็นสากล
แอพขายหนังสือ หลากหลายหมวดหมู่ ที่คุณควรมีไว้ติดเครื่อง
ติดต่อสอบถาม
081-702-9512
หนังสือยอดนิยม
Copyright © 2024-2025 All rights reserved.
ออนไลน์
3
ทั้งหมด
97,609